วาตภัย ภัยอัตรายที่คุณคาดไม่ถึง ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ชนิดได้แก่
- วาตภัยที่เกิดจากพายุร้อน มักจะเกิดขึ้นบ่อยในช่วงฤดูร้อนของเมืองไทย เนื่องจากความจับตัวกันมากว่าปรกติและสร้างแม่เหล็กทำให้เกิดพายุอย่างรุนแรง และรวดเร็ว เป็นสาเหตุให้เกิดวาตภัยจากธรรมชาติ เช่น มีฝนตกหนัก เกิดลูกเห็บขึ้นอย่างเฉียบพลัน ฟ่าผ่าในสถานที่ต่างๆ และยังเป็นอันตรายแก่มนุษย์และสัตว์ได้ และช่วงที่เกิดพายุมากที่สุดได้แก่ช่วงเดือน มีนาคมถึงเดือนพฤษภาคมของทุกปี
จุดสังเกตก่อนวาตภัยจะเกิดขึ้น
- มีอาการร้อนผิดปรกติ หรืออากาศร้อนติดต่อกันหลายวัน
- ลมไม่มี หรืออากาศจะนิ่งสงบแม้แต่ใบไม้ก็ไม่สั่นไหว
- เกิดความชื้นมากขึ้น เช่นอาการเหนียวตัวหรือรู้สึกอึดอัด หรือเหงื่อเยอะผิดปรกติ
- ท้องฟ้ามัวๆ หรือฝุ่นเริ่มลอยไปบนอากาศ
- มีเมฆมากกว่าปรกติ ท้องฟ้ามีสีมืดๆ และร้อนอบอ้าว
ลักษณะการเกิดวาตภัยจากพายุ
- ลมแรงประมาณ 10-15 นาที และความเร็วของลมจะอยู่ที่ 50 กม./ชม.
- มีเมฆเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว ลดแรงบางครั้งบางคราว มีฝนตกหนักเรื่อยๆ บางครั้งอาจจะมีลูกเห็บ
- ลักษณะการเกิดเวลาจะอยู่ที่ 1 ชม.
วิธีป้องกันหลังเกิดเหตุวาตภัย
- ห้ามออกไปไหน ติดตามข่าวสารต่างๆจากกรมอุตุนิยมวิทยา
- สอบถามเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่างๆตามศูนย์กระจายข่าว
- เชคดูตามบ้าว่าได้ติดตั้งเสาล่อฟ้าหรือไม่ หากไม่ติดควรจะรีบจติดตั้งไว้
- ไม่ควรใช้อุปกรณ์ไฟฟ่าขณะเกิดวาตะภัย
- ห้ามใส่วัตถุที่มีความเสี่ยงต่อฟ้า เช่น เครื่องประดับโลหะ หรือสแตนเลส